คำสั่งในการจัดหน้าด้วยภาษา HTML
1.คำสั่งที่ใช้ในการจัดย่อหน้า
คำสั่ง P นี้จะเพิ่มบรรทัดว่างก่อนและหลังตัวอักษรที่เราพิมพ์ไปโดยอัตโนมัติ ตามที่แสดงในตัวอย่าง
รูปแบบ p tag
<p> ย่อหน้าที่ 1 </p> <p> ย่อหน้าที่ 2 </p> <p> ย่อหน้าที่ 3 </p> |
2.คำสั่งที่ใช้ในการขึ้นบรรทัดใหม่
การตัดบรรทัดใหม่นั้นปรกติ web browser จะทำการตัดให้อยู่แล้ว แต่การตัดคำของ web browser จะตัดเมื่อแสดงผลไม่ได้ แต่ถ้าเราใส่คำสั้ง <br> เข้าไป web browser จะตัดให้ทันที ซึ่งคุณอาจจำเป็นที่จะต้องตัดคำเป็นบรรทัดสั้นๆเช่น การเขียนกลอนดังตัวอย่าง
รูปแบบ br tag
บรรทัดที่ 1 <br> บรรทัดที่ 2 <br> บรรทัดที่ 3 <br> |
3.คำสั่งที่ใช้กับข้อความที่เป็นหัวเรื่อง
คำสั่ง h จะมีทั้งหมด 6 ลำดับด้วยกัน ไล่ตั้งแต่ h1,h2,h3,h4,h5,h6 ซึ่งขนาดของ h1 จะใหญ่ที่สุดดังตัวอย่างที่แสดง โดยเราจะใช้กับตัวอักษรที่ต้องการให้เป็นหัวเรื่องเพื่อให้อักษรนั้นโดดเด่นขึ้นมา จะสังเกตุได้ว่าเมื่อใช้ h tag จะตัดตัวอักษรที่ต่อจาก h tag เป็นบรรทัดใหม่อัตโนมัติ
รูปแบบ h tag
<h1>head 1</h1> <h2>head 2</h2> <h3>head 3</h3> <h4>head 4</h4> <h5>head 5</h5> <h6>head 6</h6> |
4. คำสั่งที่ใช้ในการขึดเส้นคั่น
คำสั่งที่ใช้ในการขีดเส้นคั่น
รูปแบบ hr
<p>เนื้อหาบทที่ 1</p> <hr> <p>เนื้อหาบทที่ 2</p> <hr> |
การกำหนดความยาวของเส้นคั่น
รูปแบบคำสั่ง <HR WIDTH = “number / percentage”>
การกำหนดความหนาของเส้นคั่น
รูปแบบคำสั่ง <HR SIZE = “number ”>
การกำหนดตำแหน่งของเส้นคั่นบรรทัด
รูปแบบคำสั่ง <HR ALIGN = “LEFT/RIGHT/CENTER”>
การจัดให้ตัวอักษรให้ชิดซ้าย ขวา หรือกึ่งกลาง เราจะใช้ Attributes ให้รายละเอียดของ tag โดยเราจะใช้ aling เพื่อบอกว่าให้ชิดซ้าย (align = 'left') ชิดขวา (align = 'right') และ จัดกึ่งกลาง (align = 'center')
รูปแบบ align
<h3 align = 'left'>ชิดซ้าย</h3> <h3 align = 'right'>ชิดขวา</h3> <h3 align = 'center'>จัดเข้ากลาง</h3> |
หรือใช้คำสั่ง <p>...</p> มากำหนด
ตัวอย่าง
<p align = 'right'>.....ข้อความ....</p> เป็นต้น
6. คำสั่งที่ใช้ในการเปลี่ยนสีพื้นหลัง
bgcolor เป็น Attributes อย่างหนึงเหมือนกันที่ใช้กำหนดสี คุณอาจเปลี่ยนจาก สีเขียว(green) เป็น เหลือง(yellow) หรือสีอื่นๆก็ได้
รูปแบบ bgcolor
<body bgcolor ='green'> <h1> ดูสีพื้นหลัง </h1> </body> |
7. การเขียนคำบรรยาย soure code
ในส่วนของคำบรรยาย soure code นั้นจะไม่แสดงที่ web browser เราเขียนเพื่อบรรยายว่า sorce code ส่วนนี้ใช้ทำอะไร เพื่อความสะดวกเมื่อกลับมาแก้ไข sorce code ในภายหลังเพราะเราอาจจำไม่ได้ว่าเราเขียนส่วนนี้ไว้เพื่ออะไร เพราะว่าจริงๆแล้ว soure code ที่เราใช้งานจริงนั้นจะมีมากมายหลายร้อยบรรทัด ถ้าเราไม่เขียนบรรยายไว้ก็ทำให้เสียเวลาในการหาส่วนที่เราต้องการจะแก้ไข
รูปแบบการเขียนคำบรรยาย source code
<!-- คำบรรยาย source code --!> |
คำสั่งในการกำหนดลักษณะตัวอักษร และแสดงสัญลักษณ์ต่างๆด้วยภาษาHTML
ตัวเอียง ตัวหนา หรือแบบอักษรแบบต่างนั้นมีเพื่อให้เราอ่านบทความได้ง่ายขึ้น หรือเป็นการเน้นคำ
1.คำสั่งที่ใช้ในการจัดลักษณะตัวอักษร
ในหัวข้อนี้จะเป็นคำสั่งที่ใช้ในการจัดรูปแบบทั่วไปเช่นตัวเอียง ตัวหนา
คำสั่งเราจะแบ่งได้เป็น 2 พวกดังนี้
1.แบ่งตามลักษณะที่ปรากฏ เช่นตัวเอียง ตัวหนา
2.แบ่งตามการใช้งาน เช่น ใช้กับคำพูดหรือวลี ใช้กับข้อความที่สำคัญมาก
ซึ่งจริงแล้วนั้น ผลลัพธ์ออกมาก็เหมือนกัน เช่น B ให้ผลลัพธ์เหมือนกับ Strong เราจะเลือกใช้แบบใดก็ได้ แต่เราแยกเพื่อความสะดวกในการใช้งานมากกว่า
2.คำสั่งที่ทำให้รูปแบบตัวอักษรใน soure code เหมือนกับที่แสดงผล
Pre tag จะมีประโยชน์มากในการที่เราจะแสดงบทความที่มีเนื้อหามาก หรือ คัดลอกเนื้อหาจากที่อื่นมาทำให้เราไม่ต้องขึ้นบรรทัดใหม่ด้วยคำสั่ง br และใช้ในการแสดง source code ได้ดีอีกด้วย
รูปแบบของ Pre tag
3.คำสั่งแสดงสัญลักษณ์พิเศษต่างๆ
สัญลักษณ์พิเศษบางตัวเช่น เครื่องหมายมากว่า (>) หรือ เครื่องหมายน้อยกว่า (<) ซึ่งเครื่องหมายเหล่านี้ใช้ในภาษา HTML ด้วยทำให้ตัวอักษรที่อยู่ในเครื่องหมายเหล่านี้กลายเป็น Tag หมด หรือเครื่องหมายที่ไม่มีบนคีบอร์ด แต่ถ้าเราต้องการแสดงเครื่องหมายเหล่านี้เราต้องใช้ Entity Name แทน ตามแบบด้านล่าง
1.คำสั่งที่ใช้ในการจัดลักษณะตัวอักษร
ในหัวข้อนี้จะเป็นคำสั่งที่ใช้ในการจัดรูปแบบทั่วไปเช่นตัวเอียง ตัวหนา
คำสั่งเราจะแบ่งได้เป็น 2 พวกดังนี้
1.แบ่งตามลักษณะที่ปรากฏ เช่นตัวเอียง ตัวหนา
<B> <I> <S> <Sub> <Sup> <U> | ตัวอักษรแบบตัวหนา (bold) ตัวอักษรแบบตัวเอน (italic) ตัวอักษรแบบตัวขีดฆ่า (strike) ตัวอักษรแบบตัวห้อย (subscripted) ตัวอักษรแบบตัวยก (superscripted) ตัวอักษรแบบขีดเส้นใต้ (underline) |
2.แบ่งตามการใช้งาน เช่น ใช้กับคำพูดหรือวลี ใช้กับข้อความที่สำคัญมาก
<Em> <Stong> <Ins> <Del> <Code> <Address> | ใช้เน้นข้อความ คำพูดหรือวลี (emphasized) ใช้เน้นข้อความที่สำคัญมากๆ (strong) ใช้เน้นข้อความที่แก้ไขเพิ่มเติม (inserted) ใช้บอกว่าข้อความนี้ถูกลบไปแล้ว (deleted) ใช้บอกว่าข้อความที่เป็นโปรแกรม (computer code) ใช้บอกว่าข้อความที่เป็นที่อยู่ (computer code) |
ซึ่งจริงแล้วนั้น ผลลัพธ์ออกมาก็เหมือนกัน เช่น B ให้ผลลัพธ์เหมือนกับ Strong เราจะเลือกใช้แบบใดก็ได้ แต่เราแยกเพื่อความสะดวกในการใช้งานมากกว่า
2.คำสั่งที่ทำให้รูปแบบตัวอักษรใน soure code เหมือนกับที่แสดงผล
Pre tag จะมีประโยชน์มากในการที่เราจะแสดงบทความที่มีเนื้อหามาก หรือ คัดลอกเนื้อหาจากที่อื่นมาทำให้เราไม่ต้องขึ้นบรรทัดใหม่ด้วยคำสั่ง br และใช้ในการแสดง source code ได้ดีอีกด้วย
รูปแบบของ Pre tag
<pre> ..... </pre> |
3.คำสั่งแสดงสัญลักษณ์พิเศษต่างๆ
สัญลักษณ์พิเศษบางตัวเช่น เครื่องหมายมากว่า (>) หรือ เครื่องหมายน้อยกว่า (<) ซึ่งเครื่องหมายเหล่านี้ใช้ในภาษา HTML ด้วยทำให้ตัวอักษรที่อยู่ในเครื่องหมายเหล่านี้กลายเป็น Tag หมด หรือเครื่องหมายที่ไม่มีบนคีบอร์ด แต่ถ้าเราต้องการแสดงเครื่องหมายเหล่านี้เราต้องใช้ Entity Name แทน ตามแบบด้านล่าง
เชื่อมต่อเอกสารของเราด้วย hyperlinkด้วยHTML
hyperlink หรือเราเรียกกันสั้นว่า link ซึ่งเราจะเห็นอยู่ในทุกเว็บไซต์ ใช้เพื่อเปิดเว็บเพจอื่นๆใน เว็บไซต์ของเรา หรือเชื่อมโยงไปที่ web site หรือ เว็บเพจอื่นๆ ซึ่งมีความสำคัญมากในเว็บไซต์
1.สร้าง hyperlink
1.สร้าง hyperlink
1.1. ลิงค์ภายในเว็บไซต์ด้วยกัน มีหลักการสร้าง hyperlink ดังรูปด้านล่าง
ตัวอย่างคำสั่ง
<a href="hyperlink2.html">
นี่คือลิงค์</a> ที่เปิดไปยังหน้าอื่นๆในเว็บไซต์นี้
รูปแบบของ hyperlink ภายใน directory เดียวกัน
รูปแบบของ hyperlink จาก directory ที่สูงกว่า
รูปแบบของ hyperlink จาก directory ที่ต่ำกว่า 1 ขั้น
1.2. ลิงค์กับเว็บภายนอก
รูปแบบของ hyperlink กับเว็บภายนอก
<a href='ชื่อไฟล์ที่ต้องการลิงค์'> ตัวอักษรที่จะใช้แสดง </a> |
รูปแบบของ hyperlink จาก directory ที่สูงกว่า
<a href='ชื่อ directory ที่เก็บไฟล์ไว้/ชื่อไฟล์ที่ต้องการลิงค์'> ตัวอักษรที่จะใช้แสดง </a> |
รูปแบบของ hyperlink จาก directory ที่ต่ำกว่า 1 ขั้น
<a href='../ชื่อไฟล์ที่ต้องการลิงค์'> ตัวอักษรที่จะใช้แสดง </a> |
1.2. ลิงค์กับเว็บภายนอก
รูปแบบของ hyperlink กับเว็บภายนอก
ตัวอย่าง
<a href="http://www.ubuntu.com/">
นี่คือลิงค์</a> ที่เปิดไปเว็บไซต์ www.ubuntu.com
<a href='http://domain name'> ตัวอักษรที่จะใช้แสดง </a> |
2.สร้าง hyperlink ด้วยรูปภาพ
ใช้รูปภาพเป็นตัวเชื่อมโยงแทนการใช้ข้อความธรรมดา
ตัวอย่าง
<a href="http://www.hellomyweb.com">
<img border="0" src="logo.jpg" >
</a>
รูปแบบของการสร้าง hyperlink ด้วยรูปภาพ<a href='หน้าที่ต้องการเชื่อมโยง'> <img border = '0' src ='ที่อยู่ภาพ/ชื่อภาพ'> </a> |
3.สร้าง hyperlink ในหน้าเดียวกัน
ในหน้าที่มีบทความเยอะมากๆ เราต้องการสร้าง link เพื่อไปยังหัวข้อที่อยู่ในหน้าเดียวกันเพื่อความสะดวกในการอ่านบทความ โดยเราจะตั้งจุดที่เราต้องการจะ link ไปหาโดยใช้ <a name ='ชื่อ'> </a>
รูปแบบของการสร้าง hyperlink ในหน้าเดียวกัน
ตัวอย่าง
<p>
<a href="#C5">เปิดบทที่ 5</a>
</p>
<h2>บทที่ 1</h2>
<p>เนื้อหาในบทนี้ เกี่ยวกับ ................ ........... ........</p>
<h2>บทที่ 2</h2>
<p>เนื้อหาในบทนี้ เกี่ยวกับ ................ ........... ........</p>
<h2>บทที่ 3</h2>
<p>เนื้อหาในบทนี้ เกี่ยวกับ ................ ........... ........</p>
<h2>บทที่ 4</h2>
<p>เนื้อหาในบทนี้ เกี่ยวกับ ................ ........... ........</p>
<h2> <a name ='C5'>บทที่ 5</a></h2>
<p>เนื้อหาในบทนี้ เกี่ยวกับ ................ ........... ........</p>
<h2>บทที่ 6</h2>
<p>เนื้อหาในบทนี้ เกี่ยวกับ ................ ........... ........</p>
<h2>บทที่ 7</h2>
<p>เนื้อหาในบทนี้ เกี่ยวกับ ................ ........... ........</p>
<h2>บทที่ 8</h2>
<p>เนื้อหาในบทนี้ เกี่ยวกับ ................ ........... ........</p>
สร้างจุดที่ต้องการจะลิงค์ไป
<a name='ชื่อจุดลิงค์'> </a> |
สร้างลิงค์
<a href='#ชื่อจุดลิงค์'> ตัวอักษรที่ต้องการแสดง </a> |
4.เปิด browser ใหม่เมื่อคลิกที่ลิงค์
การสร้าง link ให้เปิด browser ใหม่เราจะใช้ Attributes โดยพิมพ์ target="_blank" ใน a tag
ตัวอย่าง
<a href="hyperlink2.html" target="_blank">นี่คือลิงค์</a>
เปิด browser ใหม่เมื่อคลิกที่ลิงค์
<a href="เป้าหมาย" target="_blank">ตัวอักษรที่ใช้แสดง</a> |
การใส่รูปในเว็บเพจ HTML
รูปนั้นสามารถบรรยายรายละเอียดได้ดีกว่าคำพูดมาก ดังนั้นแทบทุกเว็บไซต์จึงมีรูปอยู่เกือบทุกเว็บไซต์1.ลองใส่รูปในเว็บเพจ
ตัวอย่างคำสั่ง
<p>
รูปทั่วไป
<img src="pig.gif"
width="128" height="128">
</p>
<p>
รูปที่สามารถขยับได้
<img src="dog.gif">
</p>
ผลลัพธ์ที่ได้
ฟอร์ตแมตของไฟต์ที่เราจะเห็นกันบ่อยๆ
1.JPEG เหมาะสำหรับภาพถ่าย หรือภาพที่มีความละเอียดและจำนวนสีมากๆ
2.GIF เหมาะสำหรับภาพลายเส้น เช่นการ์ตูน ตัวหนังสือ หรือภาพที่ต้องการสร้างให้ภาพโปร่งใส หรือ ทำให้เคลื่อนไหวได้
3.PNG เหมาะสำหรับภาพที่ต้องการให้โปร่งแสง ขนาดไฟล์จะใหญ่กว่า JPEG แต่คุณภาพจะดีกว่า JPEG
สำหรับการเปลี่ยนฟอร์ตแมตของภาพเราจะใช้โปรแกรมเช่น Photoshop ในการเปลี่ยนซึ่งเรื่องนี้เราจะไปศึกษากันที่หัวข้อ Photoshop กันต่อไป ซึ่งฟอร์ตแมตของภาพจะมีผลมากต่อการทำเว็บไซต์ของเรา
2.ใส่รูปจาก directory ที่ต่างกัน
จะเห็นว่าการใส่รูปจาก directory ที่ต่างกันใช้หลักการเดียวกับการเขียน hyperlink นั่นเอง ซึ่งหากไม่เข้าใจสามารถกลับไปดูได้ที่หัวข้อ เชื่อมต่อเอกสารของเราด้วย hyperlink
ตัวอย่าง
3.The Alt Attribute
รูปแบบ <img src="boat.gif" title="Big Boat">
รูปจาก folder อื่น
<br>
<img src="/images/logo.jpg">
<br>
<br>
เราสามารถกำหนดรูปแบบโดยให้อ้างอิงจากชื่อ domain name ก็ได้
<br>
<img src="http://www.hellomyweb.com/images/logo.jpg">
รูปแบบ <img src="boat.gif" title="Big Boat">
เราใช้ alt Attribute เพื่อแสดงผลในกรณีที่ไม่สามารถโหลดรูปได้ และแสดงผลเมื่อมีเมาส์ไปอยู่ด้านบน นอกจากนั้นยังไม่ผลต่อการค้นหาของ google อีกด้วย
4.การใส่รูปพื้นหลัง
รูปพื้นหลังจะถูกแสดงผลซ้ำกันเองโดยเราแม้ว่ารูปจะรูปจะมีขนาดเล็ก หรือสั้นเพียงใดก็ตาม
ตัวอย่างคำสั่ง
4.การใส่รูปพื้นหลัง
รูปพื้นหลังจะถูกแสดงผลซ้ำกันเองโดยเราแม้ว่ารูปจะรูปจะมีขนาดเล็ก หรือสั้นเพียงใดก็ตาม
ตัวอย่างคำสั่ง
<body background="bg.jpg">
5.การจัดตำแหน่งของรูปในตัวอักษร
จะเป็นการจัดตำแหน่งของรูปในตัวอักษร เมื่อเรามีตัวอักษรกับภาพอยู่ด้วยกัน เราจะใช้ Align Attribute เพื่อจัดตำแหน่งของภาพ
ตัวอย่างคำสั่ง
จะเป็นการจัดตำแหน่งของรูปในตัวอักษร เมื่อเรามีตัวอักษรกับภาพอยู่ด้วยกัน เราจะใช้ Align Attribute เพื่อจัดตำแหน่งของภาพ
ตัวอย่างคำสั่ง
<p>
การจัดรูปภาพ
<img src="images/cone.png" align="bottom">
ในข้อความ
</p>
<p>
การจัดรูปภาพ
<img src ="images/cone.png" align="middle">
ในข้อความ
</p>
<p>
การจัดรูปภาพ
<img src ="images/cone.png" align="top">
ในข้อความ
</p>
<p><b>ในส่วนจะแสดงผลในกรณีที่ไม่มีการใช้ align attribute</b></p>
<p>
การจัดรูปภาพ
<img src ="images/cone.png">
ในข้อความ
</p>
<p>
<img src ="images/cone.png">
แสดงรูปภาพก่อนข้อความ
</p>
<p>
แสดงรุปภาพหลังข้อความ
<img src ="images/cone.png">
</p>
จะเป็นการจัดรูปของเราให้ชิดซ้ายหรือชิดขวา เมื่อแสดงผล
ตัวอย่างคำสั่ง
<p>
<img src ="images/cone.png"align ="left">
ในย่อหน้านี้จะเป็นการจัดรูปภาพให้อยู่ชิดซ้ายของหน้า โดยใช้คำสั่ง align = 'left' ในการสั่งให้รูปอยู่ชิดซ้ายของย่อหน้า
</p>
<p>
<img src ="images/cone.png"align ="right" >
ในย่อหน้านี้จะเป็นการจัดรูปภาพให้อยู่ชิดขวาของหน้า โดยใช้คำสั่ง align = 'right' ในการสั่งให้รูปอยู่ชิดขวาของย่อหน้า
</p>
การใส่ขนาดของรูปนั้นเราจะใส่หรือไม่ใส่ก็ได้ ถ้าเราใส่ขนาด การแสดงผลของรูปก็จะเปลี่ยนแปลงตามที่เราใส่ แต่ขนาดของรูปจริงๆจะไม่เปลี่ยนแปลง
ตัวอย่างคำสั่ง
<p>
<img src="images/cone.png"
width="20" height="20">
ขนาดรูป 20x20px เล็กกว่ารูปจริง
</p>
<p>
<img src="images/cone.png">
ขนาดรูป 40x40px เท่ากับรูปจริง ซึ่งเราจะใส่ขนาดหรือไม่ก็ได้
</p>
<p>
<img src="images/cone.png"
width="60" height="60">
ขนาดรูป 60x60px ใหญ่กว่ารูปจริง
</p>
<p>
เราสามารถกำหนดให้รูปใหญ่หรือเล็กได้โดยใช้คำสั่ง width และ height โดยไม่มีผลกับขนาดของภาพจริง
</p>
การทำให้รูปภาพเป็น hyperlink ก็ให้ใส่คำสั่งของ hyperlink ครอบคำสั่งแสดงภาพ เท่านั้นเอง
ตัวอย่างคำสั่ง
ตัวอย่างคำสั่ง
<a href="http://www.hellomyweb.com">
<img border="0" src="images/logo.jpg">
</a>
เป็นการแสดงพิกัดที่อยู่ในภาพโดยจะแสดงที่ status bar เป็นพิกัดค่า X,Y ตามจุดที่เมาส์ของเราอยู่ด้านบน โดยจุด 0,0 จะอยู่ที่ด้ายซ้ายบนของภาพ
ตัวอย่างคำสั่ง
เมื่อนำเมาส์อยุ่เหนือภาพ จะมีการแสดงพิกัดต่างๆของภาพที่ status bar ด้านล่างของ browser
<a href="image_map.html">
<img src="images/keyboard.png"ismap >
</a>
10.สร้าง hyperlink ด้วยพิกัดในรูปภาพในหัวข้อที่แล้วเราทราบพิกัดจุดของภาพแล้ว ในหัวข้อนี้จะใช้พิกัดจุดในภาพมาสร้าง hyperlink ซึ่งในตัวอย่างจะเห็นว่ามี hyperlink ในรูปภาพอยู่ 2 ที่คือ keyboard , mouse
ตัวอย่างคำสั่ง
<!-- ส่วนของภาพเราจะใช้ attribute usemap เพื่อกำหนดว่าจะใช้ map ชื่อว่าอะไร -->
<img src="keyboard.png" width="128" height="128" border="0" usemap="#Map">
<map name="Map">
<!-- link ของรูปเมาส์ เป็นรูปวงกลม-->
<area shape="circle" coords="90,98,22" href="mouse.jpg">
<!-- link ของรูป keyboard เป็นรูปสีเหลี่ยม -->
<area shape="rect" coords="11,22,115,63" href="keyboard.jpg">
</map>
การใส่พื้นหลัง ให้เว็บเพจHTML
ภาพพื้นหลังเป็นสิ่งที่ทำให้เว็บของเราดูสวยงามแต่ถ้าเราใช้ภาพพื้นหลังที่ไม่ดี อาจส่งผลเสียกับเว็บเราได้ ในบทความนี้จะเป็นตัวอย่างของการใส่พื้นหลังที่ดี และไม่ดี1.สีพื้นหลังที่ดี
ตัวอย่างของภาพพื้นหลังที่ดี สีของตัวหนังสือและพื้นหลังแตกต่างกันเห็นได้ชัดเจน และสีพื้นหลังเป็นสีที่อ่อนทำให้อ่านแล้วสบายตา
2.สีพื้นหลังที่ไม่ดี
ตัวอย่างพื้นหลังที่ไม่ดีเนื่องจากว่าสีพื้นหลัง และตัวหนังสือเป็นสีสว่างเหมือนกัน ทำให้อ่านได้ยาก
ตัวอย่าง code ที่ใช้กับสีพื้นหลัง
<body bgcolor="#000000"> กำหนดสีโดยใช้ hexadecimal number <body bgcolor="rgb(0,0,0)"> กำหนดสีโดยใช้ RGB value <body bgcolor="black"> กำหนดสีโดยใช้ชื่อของสีเอง |
การใช้ภาพพื้นหลัง
ภาพพื้นหลังเป็นสิ่งที่ทำให้เว็บของเราดูดีขึ้น แต่เราต้องคำนึงถึงเรื่องต่อไปนี้ด้วย
1.การใส่ภาพพื้นหลังที่ใหญ่มาก จะทำให้เว็บของเราโหลดได้ช้าลง
2.การใส่ภาพพื้นหลังที่ไม่ดีจะทำให้อ่านข้อความได้ยาก
3.การใส่ภาพพื้นหลังอาจทำให้สับสนระหว่างภาพที่เราใช้สื่อความหมายกับภาพพื้นหลังได้
4.การใส่ภาพพื้นหลังทำให้ตัวอักษรอาจลดความเด่นชัดลงไป
code ที่ใช้ใส่ภาพพื้นหลัง
<body background="logo.jpg"> <body background="http://www.hellomyweb.com/images/logo.jpg"> |
เราใส่ code อ้างอิงที่อยู่ของภาพ ได้แบบเดียวกับที่เราเขียนอ้างอิง hyperlink
3.การใส่ภาพพื้นหลังที่ดี
ตัวอย่างการใส่ภาพพื้นหลังที่ดี ทำให้เว็บไซต์ดูน่าสนใจขึ้น
4.การใส่ภาพพื้นหลังที่ไม่ดี
ตัวอย่างการใส่ภาพพื้นหลังที่ไม่ดีทำให้เว็บไซต์มีประสิทธิภาพลดลงไป
การใช้งานสีในเว็บเพจ
สีสันนั้นอยู่คู่กับเว็บเพจอยู่แล้ว เพราะนอกจากจะทำให้เว็บดูสวยงามน่าสนใจแล้ว ยังช่วยให้การอธิบายข้อความดีขึ้นอีก ในบทความนี้เราจะมีดูการใช้งานสีกัน
รายชื่อสีแบบ HEX value และ แบบ RGB value
รายชื่อสีแบบ HEX value และ แบบ RGB value
Color | Color HEX | Color RGB |
---|---|---|
#000000 | rgb(0,0,0) | |
#FF0000 | rgb(255,0,0) | |
#00FF00 | rgb(0,255,0) | |
#0000FF | rgb(0,0,255) | |
#FFFF00 | rgb(255,255,0) | |
#00FFFF | rgb(0,255,255) | |
#FF00FF | rgb(255,0,255) | |
#C0C0C0 | rgb(192,192,192) | |
#FFFFFF | rgb(255,255,255) |
ตัวอย่าง code สีในแบบ hex value และแบบ ชื่อของสี
Color Name | Color HEX | Color |
---|---|---|
AliceBlue | #F0F8FF | |
AntiqueWhite | #FAEBD7 | |
Aqua | #00FFFF | |
Aquamarine | #7FFFD4 | |
Azure | #F0FFFF | |
Beige | #F5F5DC | |
Bisque | #FFE4C4 | |
Black | #000000 | |
BlanchedAlmond | #FFEBCD | |
Blue | #0000FF | |
BlueViolet | #8A2BE2 | |
Brown | #A52A2A | |
BurlyWood | #DEB887 | |
CadetBlue | #5F9EA0 | |
Chartreuse | #7FFF00 | |
Chocolate | #D2691E | |
Coral | #FF7F50 | |
CornflowerBlue | #6495ED | |
Cornsilk | #FFF8DC | |
Crimson | #DC143C | |
Cyan | #00FFFF | |
DarkBlue | #00008B | |
DarkCyan | #008B8B | |
DarkGoldenRod | #B8860B | |
DarkGray | #A9A9A9 | |
DarkGrey | #A9A9A9 | |
DarkGreen | #006400 | |
DarkKhaki | #BDB76B | |
DarkMagenta | #8B008B | |
DarkOliveGreen | #556B2F | |
Darkorange | #FF8C00 | |
DarkOrchid | #9932CC | |
DarkRed | #8B0000 | |
DarkSalmon | #E9967A | |
DarkSeaGreen | #8FBC8F | |
DarkSlateBlue | #483D8B | |
DarkSlateGray | #2F4F4F | |
DarkSlateGrey | #2F4F4F | |
DarkTurquoise | #00CED1 | |
DarkViolet | #9400D3 | |
DeepPink | #FF1493 | |
DeepSkyBlue | #00BFFF | |
DimGray | #696969 | |
DimGrey | #696969 | |
DodgerBlue | #1E90FF | |
FireBrick | #B22222 | |
FloralWhite | #FFFAF0 | |
ForestGreen | #228B22 | |
Fuchsia | #FF00FF | |
Gainsboro | #DCDCDC | |
GhostWhite | #F8F8FF | |
Gold | #FFD700 | |
GoldenRod | #DAA520 | |
Gray | #808080 | |
Grey | #808080 | |
Green | #008000 | |
GreenYellow | #ADFF2F | |
HoneyDew | #F0FFF0 | |
HotPink | #FF69B4 | |
IndianRed | #CD5C5C | |
Indigo | #4B0082 | |
Ivory | #FFFFF0 | |
Khaki | #F0E68C | |
Lavender | #E6E6FA | |
LavenderBlush | #FFF0F5 | |
LawnGreen | #7CFC00 | |
LemonChiffon | #FFFACD | |
LightBlue | #ADD8E6 | |
LightCoral | #F08080 | |
LightCyan | #E0FFFF | |
LightGoldenRodYellow | #FAFAD2 | |
LightGray | #D3D3D3 | |
LightGrey | #D3D3D3 | |
LightGreen | #90EE90 | |
LightPink | #FFB6C1 | |
LightSalmon | #FFA07A | |
LightSeaGreen | #20B2AA | |
LightSkyBlue | #87CEFA | |
LightSlateGray | #778899 | |
LightSlateGrey | #778899 | |
LightSteelBlue | #B0C4DE | |
LightYellow | #FFFFE0 | |
Lime | #00FF00 | |
LimeGreen | #32CD32 | |
Linen | #FAF0E6 | |
Magenta | #FF00FF | |
Maroon | #800000 | |
MediumAquaMarine | #66CDAA | |
MediumBlue | #0000CD | |
MediumOrchid | #BA55D3 | |
MediumPurple | #9370D8 | |
MediumSeaGreen | #3CB371 | |
MediumSlateBlue | #7B68EE | |
MediumSpringGreen | #00FA9A | |
MediumTurquoise | #48D1CC | |
MediumVioletRed | #C71585 | |
MidnightBlue | #191970 | |
MintCream | #F5FFFA | |
MistyRose | #FFE4E1 | |
Moccasin | #FFE4B5 | |
NavajoWhite | #FFDEAD | |
Navy | #000080 | |
OldLace | #FDF5E6 | |
Olive | #808000 | |
OliveDrab | #6B8E23 | |
Orange | #FFA500 | |
OrangeRed | #FF4500 | |
Orchid | #DA70D6 | |
PaleGoldenRod | #EEE8AA | |
PaleGreen | #98FB98 | |
PaleTurquoise | #AFEEEE | |
PaleVioletRed | #D87093 | |
PapayaWhip | #FFEFD5 | |
PeachPuff | #FFDAB9 | |
Peru | #CD853F | |
Pink | #FFC0CB | |
Plum | #DDA0DD | |
PowderBlue | #B0E0E6 | |
Purple | #800080 | |
Red | #FF0000 | |
RosyBrown | #BC8F8F | |
RoyalBlue | #4169E1 | |
SaddleBrown | #8B4513 | |
Salmon | #FA8072 | |
SandyBrown | #F4A460 | |
SeaGreen | #2E8B57 | |
SeaShell | #FFF5EE | |
Sienna | #A0522D | |
Silver | #C0C0C0 | |
SkyBlue | #87CEEB | |
SlateBlue | #6A5ACD | |
SlateGray | #708090 | |
SlateGrey | #708090 | |
Snow | #FFFAFA | |
SpringGreen | #00FF7F | |
SteelBlue | #4682B4 | |
Tan | #D2B48C | |
Teal | #008080 | |
Thistle | #D8BFD8 | |
Tomato | #FF6347 | |
Turquoise | #40E0D0 | |
Violet | #EE82EE | |
Wheat | #F5DEB3 | |
White | #FFFFFF | |
WhiteSmoke | #F5F5F5 | |
Yellow | #FFFF00 | |
YellowGreen | #9ACD32 |
อ้างอิงจากเว็บไซต์ http://www.w3schools.com